กลอนเพลงบอก เรื่องระยะของพระบรมธาตุ
มี.ค. 14


ในโอกาสที่วัดพระบรมธาตุของชาวนครศรีธรรมราชและชาวพุทธ ที่จ่อ/รอการอนุมัติการขึ้นทะเบียนความเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม ที่กรุงปรารีสฝรั่งเศส จึงขอนำเสนอความละเอียดต่างๆของสถานที่สำคัญในอาณาบริเวณของวัดพระบรมธาตุ ในรายละเอียดเดิมได้มีพระภิกษุนิรนามรูปหนึ่งเคยได้ปริวรรธข้อมูลไว้ และในยุคปัจจุบันได้คุณสุรเชษฐ์ แก้วสกุลได้ทำภาพคอมพิวเตอร์กราฟิกไว้(บางส่วน) ตามความเข้าใจของผู้เขียนสามารถนำมาปริวรรธข้อมูลร่วมกันได้กับข้อมูลยุคก่อน และด้วยความชอบที่คุณสุรเชษฐ์ แก้วสกุลได้จัดทำขึ้นมา จึงได้นำมาเผยแพร่ในวาระดังกล่าว ต้องขอขอบคุณข้อมูลต่างๆและจากเอกสาร”มหัคฆภัณ์วัณณนา”เครื่องพุทธบูชาพระมหาธาตุเจดีย์ศรีธรรมราช จากคุณสุรเชษฐ์ แก้วสุกุลและหอสมุดแห่งชาติ นครศรีธรรมราช
กลอนเพลงบอก เรื่องระยะของพระบรมธาตุ
แต่งโดยพระภิกษุนิรนามซึ่งได้อาศัยนั้งร้านคราวติดตั้งสายล่อฟ้าในปีพ.ศ.2457 ขึ้นไปสำรวจและวัดขนาดสัดส่วนขององค์พระบรมธาตุ กวีระบุว่าได้ขึ้นไปด้วยกันกับพระครูกาเดิม(ทอง)เจ้าอาวาสวัดจันทาราม ต.ท่าวัง
พระครูกาเดิม(ทอง)เป็นพระช่างในราว พ.ศ.2460 ท่านได้นำเอารูปแบบของวิหารหลวงไปปรับปรุงเป็นอุโบสถ์วัดจันทาราม เมื่อพิจารณาจากวิธีการพรรณนาระยัต่างๆ ขององค์พระบรมธาตุในคำกลอนโดยละเอียด พระภิกษุผู้ประพันธ์กลอนเพลงบอกเรื่องระยะของพระบรมธาตุและโบราณสถานในวัดพระบรมธาตุ ก็น่าจะเป็นพระที่ใฝ่ใจการช่างด้วยเช่นกัน
1.บรรยายถึงบริเวณโดยรอบของลานประทักษิณ 2.บรรยายลักษณะองค์ระฆัง 3.บรรยายลักษณะของบรรลังก์ในที่นี่้เรียกบรรลังว่า”เหม”4.บรรยายลักษณะก้านฉัตร 5.บรรยายลักษณะปล้องไฉน 6.บรรยายลักษณะบัวควำบัวหายถึงปลียอด 7.บรรยายลักษณะปลายยอดและระยะรวมทั้งหมด 8.แต่นี้ไปบรรยายลักษณะของยอดองค์พระบรมธาตุที่เรียกว่า”กรงแก้ว”













































ในนามของคณะผู้จัดทำ ประกอบด้วย ผู้มอบภาพเพื่อเผยแพร่,ภาพและข้อมูลที่ผู้เขียนนำมาจากเวปเพจและจากสถานที่ ต่างๆ พร้อมทั้งผู้ให้ข้อมูลจากเอกสาร,บุคคลที่นำ มาเผยแพร่ ความเป็นอดีตของพระบรมธาตุเจดีย์ เพื่อเป็น””พุทธบูชา””ต่อพระบรมธาตุขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้า
ขออุทิศ บุญ กุศล ให้แก่ มารดา บิดา ปู่ ย่า ตา ยาย ครูบาอาจารย์และบรรพบุรุษผู้ก่อสร้างและบูรณะพระบรมธาตุเจดีย์ รวมถึงคณะผู้จัดทำที่มีความตั้งใจ อุทิศแรงกาย แรงใจเพื่อ การเผยแพร่
ขอให้สำเร็จสมบัติสามประการ คือ มนุษยสมบัติแลสวรรคสมบัติ มีพระนิพพานสมบัติเป็นที่สุด ตามประเพณีพระอริยเจ้า แต่ก่อนนั้น แล
ในนามของคณะผู้จัดทำ
นายโกมล พันธรังษีและครอบครัว“พันธรังษี”