นิราสรอบอ่าวนคร โอกาสครบรอบ 55 ปีวาตภัยแหลมตะลุมพุก 25 ตุลาคม 2505

ก.ย. 02

นิราสรอบอ่าวนคร โอกาสครบรอบ 55 ปีวาตภัยแหลมตะลุมพุก  25 ตุลาคม 2505

“”"นครจะไร้ยาก บางจากจะไร้ทุกข์ ปากพนังจะสนุก แหลมตะลุมพุกจะเป็นวัง”"”พังเพยที่สื่อความหมาย                                              ภูมิหลังแหลมตะลุมพุก อำเภอปากพนัง ปัจจุบันคือแหลมที่ยื่นไปในทะเลเหมือนเขาควาย(ปลายแหลมโค้ง)ที่มีเขาข้างเดียว ที่ยื่นไปในอ่าวไทย ถ้ามองย้อนอดีตของแหลมตะลุมพุกไปประมาณ 235 ปี จากปัจจุบัน แหลมตะลุมพุกคือแหลมชุมพุก เป็นแหลมที่มีพื้นที่บริเวณกว้างขวาง เป็นพื้นที่ที่มีประชาชนชาวไทย จีน แขกและชาติอื่นๆ อาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก เป็นแหลมที่ยื่นไปทางทิศตะวันออกเข้าไปในอ่าวสยาม ถ้าวัดจากบริเวณริมด้านตะวันออกสุดของเขาควายปัจจุบัน มีพื้นที่ที่กว้างออกไปไม่น้อยกว่า 30 กม.เพราะด้วยเหตุภัยธรรมชาติ อาจรวมถึงน้ำมือของคน...

อ่านเรื่องทั้งหมด

นิราศเมืองคอน ตอน “นิราศกะโรม”

ก.พ. 28

นิราศเมืองคอน ตอน “นิราศกะโรม”

                  “นิราศกะโรม” เป็นบทประพันธ์ของ “คุณครูตรึก พฤกษะศรี” ซึ่งได้รับอนุญาตจากคุณสถาพร พฤกษะศรี นำลงในเวป “เมืองคอน.com” เพื่อให้ชาวเมืองคอนและบุึึคคลผู้สนใจในกาพย์ กลอน ได้อ่านเล่น อีกยังได้นึกถึงบ้านเมืองของเราในอดีตที่ผ่านมา ในปี พ.ศ.2505 และคุณสถาพร พฤกษะศรี ได้เกริ่นนำถึงการเขียนนิราศตอน “นิีราศกะโรม”ไว้ว่า                    ครั้งหนึ่งที่คุณครูตรึก พฤกษะศรี ซึ่งเป็นผู้กำกับลูกเสือของโรงเรียนปากพนัง ได้นำคณะลูกเสือนักเรียนของโรงเรียนปากพนังสามร้อยกว่าคน เดินทางไกลไปเข้าค่ายพักแรมที่บริเวณน้ำตกกะโรม อำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช และได้ลำดับเหตุการณ์ต่างๆมาเป็นนิราศในชื่อว่า “นิราศกะโรม”                  ...

อ่านเรื่องทั้งหมด

นิราศและ “กวี” เมืองคอน

เม.ย. 27

นิราศและ “กวี” เมืองคอน

      แผนที่เมือง"ตามพรลิงค์"(เมืองสิบสองนักษัตร) ในอดีตช่วงพระเจ้าศรีธรรมโศกราช(ราชัณย์แห่งอาณาจักรทะเลใต้) พ.ศ.1773 (ภาพจากเวป)            ที่่ผมได้เขียนเรื่อง"นิราศและกวี"เมืองคอน รวมถึงความเป็นมา"ความเป็นเจ้าบทเจ้ากลอน"ของคนเมืองคอน" เนื่องจากว่า จากความยิ่งใหญ่ในอดีตของพระเจ้าศรีธรรมโศกราช(พระเจ้าจันทรภาณุหรือเทพเจ้าแห่งอาณาจักรทะเลใต้) เป็นสมัยต้นกำเนิดความยิ่งใหญ่ ทั้งทางด้านการเมือง การปกครอง ประเพณีวัฒนธรรม มีแสนยานุภาพความยิ่งใหญ่ทางน้ำ ตลอดทั้งคาบสมุทธและทางบก และเป็นต้นแบบแนวทางการปฏิบัติหลายๆด้านในยุคต่อมา                 ...

อ่านเรื่องทั้งหมด